วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2561

[ ChemNews 9 ]


Isotopes


        Isotopes are atoms with the same number of protons, but differing numbers of neutrons. In other words, the have different atomic weights. Isotopes are different forms of a single element.
        There are 275 isotopes of the 81 stable elements. There are over 800 radioactive isotopes, some of which are natural and some synthetic. Every element on the periodic table has multiple isotope forms.
        The chemical properties of isotopes of a single element tend to be nearly identical. The exception would be the isotopes of hydrogen since the number of neutrons has such a significant effect on the size of the hydrogen nucleus. The physical properties of  isotopes are different from each other since these properties often depend on mass.                This difference may be used to separate isotopes of an element from each other by using fractional distillation and diffusion.


       With the exception of hydrogen, the most abundant isotopes of the natural elements have the same number of protons and neutrons. The most abundant form of hydrogen is protium, which has one proton and no neutrons.

Isotope Notation
There are a couple of common ways to indicate isotopes:


  • List the mass number of an element after its name or element symbol. For example, an isotope with 6 protons and 6 neutrons is carbon-12 or C-12. An isotope with 6 protons and 7 neutrons is carbon-13 or C-16. Note the mass number of two isotopes may be the same, even though they are different elements. For example, you could have carbon-14 and nitrogen-14.
  • The mass number may be given in the upper left side of an element symbol. (Technically the mass number and atomic number should be stacked in line with each other, but they don't always line up on a computer.) For example, the isotopes of hydrogen may be written: 11H, 21H, 31H
These are the isotopes of hydrogen.



[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้9 ]

ชื่อและอักษรย่อในใบกำกับสารเคมีเกษตรหมายถึงอะไร?


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฉลากสารเคมีเกษตร


        เมื่อมีความจำเป็นต้องซื้อสารเคมีทางการเกษตร เช่น สารกำจัดเมลง สารกำจัดโรคพืช หรือสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (ฮอร์โมนพืช) ซึ่งมีขายมากมายหลายยี่ห้อในท้องตลาด บางครั้งก็มีชื่อยี่ห้อคล้ายกันบ้างต่างกันบ้าง ทำให้เกิดความสับสน โดยเฉพาะกับใบกำกับที่ติดมากับสารเคมีนั้น ซึ่งมีชื่อและอักษรย่อต่างกันไป ชื่อและอักษรย่อบนใบกำกับมีความหมายดังนี้
ชื่อการค้า (Trade name) เป็นชื่อที่บริษัทผู้ขายสารเคมีตั้งขึ้นและจดทะเบียนใช้เป็นชื่อการค้าของ บริษัทนั้น การตั้งชื่อการค้ามักตั้งชื่อเพื่อให้เกิดความน่าสนใจในตัวสินค้า บางครั้งก็ใช้ชื่อบริษัทร่วมกับชื่อที่แสดงความหมายว่าเป็นชื่อสารเคมีเกษตรนั้นหรือชื่อสามัญของสารนั้น  บางครั้งก็ใช้ชื่อแสดงสรรพคุณของสารนั้น นอกจากนี้ยังอาจมีหลายบริษัทที่ผลิตสารเคมีชนิดเดียวกันแต่มีชื่อทางการค้า ต่างกัน

        ชื่อสามัญ (Common name) เป็นชื่อสารเคมีเกษตรซึ่งทางวิชาการถือว่าเป็นชื่อกลางๆ และใช้กันทั่วไป เช่น แคปแทน (Captan) พาราไธออน (Parathion) มาลาไธออน (Malathion) เป็นต้น ดังนั้นการเลือกซื้อสารเคมีเกษตรจึงควรรู้จักชื่อสามัญของสารนั้น
        ชื่อผูกขึ้น (Code name) ผูกขึ้นจากชื่อเรียกตามภาษาทางเคมี ซึ่งมักเป็นชื่อที่ยืดยาว การผูกชื่อมักจะใช้อักษรหน้าของคำมาผูกใหม่สั้นๆ เมื่อเรียกนานๆ ไปก็เคยชินจนเป็นที่ทราบกันดี เช่น ดีดีที ย่อมาจากคำ Di-phynyl Di-ethyl Tri-chloroethane ซึ่งเป็นอินทรีย์เคมีสาร
        ชื่อสารออกฤทธิ์ (Active ingredient หรือ a.i.) หมายถึง เนื้อสารจริงๆ ที่จะแสดงผลต่อพืชได้ตามคุณสมบัติที่สารนั้นมีอยู่ มักจะบอกเป็นความเข้มข้นของสารออกฤทธิ์ในสารผสมทั้งหมด เช่น เปอร์เซ็นต์ของสารออกฤทธิ์ในสารผสมทั้งหมด หรือแสดงหน่วยน้ำหนักต่อปริมาตร บางบริษัทอาจใช้คำว่า สารสำคัญ แทนคำว่า สารออกฤทธิ์ บางครั้งก็ใช้ชื่อสารเคมี

     สภาวะของสารเคมี เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ควรศึกษาและพิจารณา สารเคมีอาจผลิตออกจำหน่ายในสภาวะต่างๆ กัน โดยเหตุผลที่ต่างกันไป บางทีก็ใช้อักษรย่อหรือคำเต็มแสดงสภาวะของสารเคมีเหล่านั้นติดไว้ที่ฉลากของภาชนะ ซึ่งมีความหมาย ดังนี้

คำย่อ WSC
คำเต็ม Water Soluble Concentrate สารละลายเข้มข้น 
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในรูปสารละลายใส เมื่อจะใช้จึงนำมาผสมน้ำ จะได้สารละลายใสเช่นกัน

คำย่อ EC
คำเต็ม Emulsifiable Concentrate สารละลายน้ำมัน
สภาวะ สารละลายบางชนิดละลายได้ดีในน้ำมัน จึงต้องเตรียมอยู่ในรูปน้ำมัน แต่สารที่อยู่ในรูปน้ำมันนี้เมื่อนำไปผสมกับน้ำจะไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน ทางผู้ผลิตจึงผสมสารที่ช่วยให้น้ำมันกับน้ำรวมตัวกันได้ดีขึ้นและไม่แยกชั้น เรียกสารนี้ว่า Emulsifier ผลิตภัณฑ์ในรูปนี้เมื่อผสมกับน้ำจะได้สารผสมที่มีลักษณะขุ่นเหมือนน้ำนม แต่ไม่ตกตะกอนหรือแยกชั้น

คำย่อ SC
คำเต็ม Suspension Concentrate สารแขวนลอยเข้มข้น
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะขุ่นคล้ายแป้งผสมน้ำ เมื่อจะใช้จึงนำมาผสมน้ำ จะได้สารผสมซึ่งขุ่นคล้ายแป้งผสมน้ำเช่นกัน

คำย่อ WSP
คำเต็ม Water Soluble Power ผงละลายน้ำ
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในรูปผง เมื่อจะใช้จึงนำมาผสมน้ำ จะได้สารละลายใสไม่ตกตะกอน

คำย่อ WP
คำเต็ม Wetable Power ผงเปียกน้ำ
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในรูปผง เมื่อจะใช้จึงนำมาผสมน้ำ จะได้สารแขวนลอยลักษณะขุ่นคล้ายแป้งผสมน้ำ ผลิตภัณฑ์ในรูปนี้มักมีส่วนผสมของสารที่มีคุณสมบัติผลักดันอนุภาคของแข็งชนิดเดียวกันให้แยกออกจากกัน ทำให้อนุภาคเล็กๆ เหล่านี้แขวนลอยอยู่ได้นานโดยไม่ตกตะกอน เรียกสารชนิดนี้ว่า Dispersants

คำย่อ 
คำเต็ม Dust ผง
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในรูปผง เตรียมขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ไม่ต้องผสมน้ำหรือสารใดๆ อีก

คำย่อ G
คำเต็ม Granule เม็ด
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เตรียมเป็นเม็ดเพื่อใช้ประโยชน์ได้โดยตรง หรือละลายน้ำก่อนนำไปใช้

คำย่อ P
คำเต็ม Paste ครีม
สภาวะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในรูปของสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เตรียมขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ได้โดยตรง โดยการทาหรือป้ายในบริเวณที่ต้องการ

คำย่อ F
คำเต็ม Fumigant รมควัน
สภาวะ อาจเป็นผงหรือนำมาอัดเป็นเม็ดหรือเป็นน้ำ แต่เมื่อจะใช้งานนำมาทำให้เป็นควัน ใช้รม

คำย่อ A
คำเต็ม Aerosol ละออง
สภาวะ เตรียมอยู่ในภาชนะที่มีแรงอัดอยู่ภายใน เมื่อพ่นจะกระจายออกมาเป็นหมอกละออง หรือที่มักเรียกกันว่าสเปรย์

          สารเคมีที่มีสภาวะต่างๆ ดังที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า ผู้ผลิตมีความประสงค์ที่จะทำให้สารเคมีมีสภาวะเป็นอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อประโยชน์ในการใช้โดยเฉพาะ จึงจำเป็นต้องระมัดระวังในการใช้ให้ถูกต้อง เพื่อให้สารเคมีเหล่านั้นอำนวยประโยชน์ตามความมุ่งหมายได้อย่างเต็มที่

          ความเข้มข้นของสารเคมี สารเคมีเกษตรที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่วๆ ไปประกอบขึ้นด้วยเนื้อสารเคมีซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์และสารอื่นๆ ที่ใส่เป็นสารผสม เพื่อให้มีความเข้มข้นตามประสงค์ บางทีอาจพบว่ามีสารเคมีที่ใช้ชื่อทางการค้าต่างกัน เมื่ออ่านดูจะพบว่าเป็นสารเคมีชนิดเดียวกัน แต่มีความเข้มข้นหรือเปอร์เซ็นต์สารออกฤทธิ์สูงต่ำต่างกัน เช่น 25 เปอร์เซ็นต์ ย่อมมีเนื้อสารออกฤทธิ์สูงเป็น 5 เท่าของ 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น ดังนั้นการใช้สารเคมีเกษตรจะใช้มากน้อยเท่าใด หรือมีความเข้มข้นแค่ไหน ย่อมขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของเนื้อสารออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในสารเคมีนั้น ส่วนการพิจารณาเปรียบเทียบราคาก่อนตกลงซื้อ ก็ควรจะเปรียบเทียบจากความเข้มข้นที่ต่างกันด้วย โดยคิดว่า ถ้าหากเนื้อสารออกฤทธิ์ที่แท้จริงอยู่ในสารเคมีปริมาณเท่าๆ กันแล้ว ชนิดไหนถูกแพงกว่ากัน การบอกความเข้มข้นของสารเคมีเกษตร มีดังนี้
เปอร์เซ็นต์ %
       จำนวนส่วนใน 100 ส่วน เช่น NAA 5% หมายความว่าในสารละลาย 100 ส่วน จะมี NAA อยู่ 5 ส่วน




โมล่าร์ Molar
        ปริมาณกรัมโมเลกุลของสารในสารละลาย 1 ลิตร เช่น IAA มีความเข้มข้น 1 โมล่าร์ หมายความว่า ในสารละลาย 1 ลิตร จะมี IAA อยู่ 1 กรัม โมเลกุล ซึ่ง IAA มีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากับ 175.2 กรัมต่อโมล



น้ำหนักต่อปริมาตร weigth per volume , w/v
        น้ำหนักของเนื้อสารในสารผสมหนึ่งปริมาตร เช่น 1 กรัมต่อลิตร หมายความว่ามีเนื้อสารอยู่ 1 กรัม ในสารละลาย 1 ลิตร

น้ำหนักต่อน้ำหนัก weigth per volume , w/w
        น้ำหนักของเนื้อสารในสารผสมหนึ่งน้ำหนัก เช่น 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หมายความว่ามีเนื้อสารอยู่ 1 มิลลิกรัม ในสารผสม 1 กิโลกรัม


ส่วนต่อล้านส่วน part per
        จำนวนส่วนของเนื้อสารในสารละลาย 1 ล้านส่วน เช่น SADH 1,000 ppm หมายถึงสารละลาย 1 ล้านส่วน มี SADH 1,000 ส่วน

แหล่งที่มา 

วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2561

[ ChemNews 8 ]


Uses for Baking Soda

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ baking soda


1.Freshen your breath


Mix 1 tsp of baking soda in a glass of water. Swish, spit, and rinse. Easy mouth wash that neutralizes odors.

2.
Gently exfoliate


Here’s a simple way to gently get rid of dead skin: Mix 3 parts of baking soda to 1 part water. Rub gently in a circular motion and then rinse clean.

3.Relieve heartburn and more

Baking soda is a safe antacid.

4.Keep your brushes and combs clean

Baking soda is great to help naturally remove oils, build up, and residue on your combs and brushes. Simply soak in a solution of water and baking soda (about 1 tsp of baking soda to a cup of water). Rinse and dry thoroughly.
5.Easy Microwave Cleanup
Sprinkle some baking soda on a damp cloth and gently scrub away any microwave mess. Cleans and deodorizes.

Reference

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้8 ]


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ น้ำส้มสายชู

ประโยชน์ของน้ำส้มสายชู



1. แก้ปัญหาท่ออุดตัน ผสม น้ำส้มสายชู 1 ถ้วยกับ
เบกกิ้งโซดาครึ่งถ้วย เทลงในท่ออ่างล้างจาน รอให้ฟองหายไปหมด แล้วล้างออกด้วยน้ำร้อน
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ baking soda
2. ลบคราบเทปกาว ฉีดน้ำส้มสายชู ไปที่คราบเทปกาว รอสักพัก แล้วเช็ดคราบออก
3. กำจัดกลิ่นถังขยะ ราดน้ำส้มสายชู บนขนมปังให้ชุ่ม ห่อด้วยกระดาษแล้วทิ้งไว้ก้นถังขยะข้ามคืน
4. ทำน้ำยาทำความสะอาดด้วยตัวเอง เท น้ำส้มสายชู ลงในกระบอกฉีดน้ำประมาณ 1/3 ขวด เติมน้ำจนเกือบเต็มขวดและผสมน้ำยาล้างจานเล็กน้อย เขย่าให้เข้ากัน ก็ใช้ทำความสะอาดได้ทั้งครัวและห้องน้ำ
5. ทำกับดักแมลงวัน เทน้ำส้มสายชูที่หมักจากแอปเปิ้ล (Apple Cider Vinegar) ลงในถ้วยใบเล็ก ครอบปากถ้วยด้วยพลาสติกห่ออาหาร ใช้มีดเจาะพลาสติกประมาณสองสามรูเพื่อล่อแมลง
6. ลบรอยย่นบนเสื้อผ้า ผสม น้ำส้มสายชู 1 ส่วนต่อน้ำ 3 ส่วน ฉีดน้ำยาที่ผสมแล้วบนรอยยับ แขวนเสื้อผ้าทิ้งไว้สักครู่เพื่อให้รอยยับคลายตัว
7. แก้ปัญหาแมวข่วนเฟอร์นิเจอร์ ฉีดน้ำส้มสายชูลงบนเฟอร์นิเจอร์เล็กน้อย แมวเกลียดกลิ่นน้ำส้มสายชู มันจะไม่เข้าใกล้เฟอร์นิเจอร์ชิ้นนั้นเลย
8. รักษาความสดของดอกไม้ ผสมน้ำส้มสายชูที่หมักจากแอปเปิ้ลกับน้ำ เติมลงในแจกันดอกไม้
9. ทำความสะอาดแว่นตา ฉีดน้ำส้มสายชูที่เลนส์แว่นเล็กน้อย เช็ดด้วยผ้านุ่มๆ
10. กำจัดคราบบนกระทะ ผสมน้ำส้มสายชู 1 – 2 ถ้วยกับน้ำในอัตราส่วนเดียวกัน เทลงบนกระทะ ตั้งไฟให้เดือดประมาณ 5 นาที

วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2561

[ ChemNews 7 ]

Thermometers

        

        There are many types of thermometers available. The most common type are the digital thermometers. These can be used at any age from birth. They are easy to use and accurate, and are usually the cheapest. The electronic ear thermometer is expensive, and it is not suitable for use in small babies.

How to use a digital thermometer

          Digital thermometers can be used for all ages. They give a digital read out. There are a number of brands. They are usually the cheapest option. You need to read and follow the instructions that come with your one.
If your child is under 5 years, you can use the digital thermometer under the arm. If you measure the temperature under the arm, it records about half to 1 (0.5 - 1.0) degree Celsius lower than the core temperature.
To use a digital thermometer under the arm (the axillary temperature):
  • Taking temperature under the arm1.turn it on (these thermometers usually have a button you press to turn on)
  • 2.place the end in the armpit against the skin, and bring your child's arm down over the top of it. It often helps to hug your child to keep the arm down and the thermometer in place

        most thermometers beep when they have finished meansuring your child's temperature 
        some thermometers also beep while measuring and the beep changes when the thermometer has finished measuring your child's temperature. To avoid confusion, it is worth keeping the thermometer in place for 2 minutes
remove the thermometer and read the number on the side. The temperature you read is about half to 1 degree Celsius lower than your child's actual body or core temperature

Photo showing a thermometer in a child's mouth

          If your child is 5 years of age or older you can try to measure the temperature in the mouth (the oral temperature). Make sure you only use a digital thermometer in your child's mouth.
To use it in the mouth in older children:
  • 1.your child has to be able to cooperate, which usually means they are of school age
  • 2.turn it on
  • 3.place the end in the mouth under the side of the tongue. Try to get your child to keep it there
          some thermometers make beeping noises when they have finished, but it is worth keeping it in place for at least 2 minutes
  • 4.remove the thermometer and read the number on the side. The temperature you read in in degrees Celsius is close to your child's actual body or core temperature

How to use an ear thermometer

Photo of an ear thermometer        The electronic or infrared ear thermometer is fast and accurate if it is used correctly. It can be used in older children but is not recommended for use in young babies.
        There are a number of brands.  They are more expensive than digital thermometers.
        Read the instructions for your thermometer to find out how to turn it on and take the reading. When placing the measuring end in the ear, be gentle. You do not have to push it far into the ear canal, just at the entrance.

How to use an infrared forehead thermometer

        Infrared forehead thermometers are quick and easy to use, as you simply point them at your child's forehead. But, they are expensive and it is not clear how accurate they are. They measure the forehead skin temperature which changes a lot with blood flow and room temperature.

Plastic strip thermometer

        These are plastic strips that you place on your child's forehead. They are not accurate, and we don't recommend them.

Mercury-in-glass thermometer

        These old style thermometers are no longer available but some households still have them. Mercury vapour can be toxic if the thermometer breaks, so we recommend you don't use these thermometers and consider getting a digital thermometer instead.
Mercury in glass thermometer

Reference

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้7 ]

เอทานอล (ethanol) แอลกอฮอล์กินได้


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แอลกอฮอล์ ดื่มได้


แอลกอฮอล์คืออะไร

        แอลกอฮอล์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันไฮดรอกซิล Hydroxyl (-OH) ทำพันธะกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิล (R-) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง เมื่อทำปฏิกิริยากับโลหะ จะเกิดปฏิกิริยาแทนที่และให้ก๊าซไฮโดรเจน ออกมา ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติทางเคมีที่ใช้บ่งบอกความเป็นแอลกอฮอล์ได้
        ลักษณะทั่วไปที่สำคัญของแอลกอฮอล์ คือ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟได้ และสามารถละลายน้ำได้ดีเพราะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแบบมีขั้ว (Dipole Interactions) ซึ่งทำให้แอลกอฮอล์สามารถละลายน้ำได้ดีเนื่องจากเป็นสารละลายมีขั้วเหมือนกันกับน้ำ

แอลกอฮอล์แบบไหนกินได้

        เรารู้กันอยู่แล้วว่าเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่าง ๆ นั้นสามารถกินได้ ถึงแม้ว่าจะกินแล้วเมา ๆ หน่อยก็เถอะ แต่แอลกอฮอล์แบบไหนกันล่ะที่สามารถกินได้ คำตอบก็คือ เอทานอล (Ethanol) หรือเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) มีสูตรเคมีคือ C2H5OH หรือ CH3-CH2-OH

การผลิตเอทานอล

        เอทานอลเป็นแอลกอฮอล์ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการหมักน้ำตาล หรือใช้ในการหมักเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ สุรา ที่ใช้พืชตระกูลข้าวโพด มอลต์ ข้าวบาร์เลย์ในการหมักควบคู่กับยีสต์ เอนไซม์จากยีสต์ที่ผสมลงไปจะคอยทำหน้าที่เปลี่ยนให้คาร์โบไฮเดรตในพืชชนิดดังกล่าวเป็นน้ำตาลกลูโคส และเปลี่ยนจากน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลในที่สุด
        ในส่วนของแอลกอฮอล์สำหรับการบริโภค สามารถบริโภคได้แน่นอนในปริมาณที่เหมาะสม ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มต้องเป็นไปตามปริมาณการดื่ม 1 ดื่มมาตรฐาน

เอทานอลที่ห้ามกิน 

        นอกจากการดื่มแล้ว แอลกอฮอล์อย่างเอทานอลยังใช้ผสมในเครื่องสำอางหรือล้างแผลได้ เพราะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่ต้องใช้ในปริมาณและความเข้มข้นที่เหมาะสม แต่สำหรับส่วนของแอลกอฮอล์สำหรับใช้ภายนอกหรือเรียกว่า เมทานอลหรือเมทิลแอลกอฮอล์นั้น ไม่สามารถกินได้ เพราะเกินปริมาณที่ร่างกายจะรับได้ อาจเกิดอันตรายต่อร่างกายได้

แหล่งที่มา