วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2561

[ ChemNews 6 ]

What make popcorn pop?


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ popcorn

        If you've ever wondered what's going on inside your microwave as you pop up this tasty treat, grab a front-row seat and find out what all the noise is about. It's time to go behind the scenes with one of the world's oldest snack foods!
         
        So what makes popcorn pop? And why doesn't all corn pop when heated? The answer is a matter of simple science. Popcorn is a special kind of corn. Of all the types of corn, popcorn is the only variety that pops.
        
        Inside each kernel of popcorn is a tiny droplet of water surrounded by a hard shell called a hull. As the popcorn is heated, the water turns into steam, which builds pressure inside the kernel. When the hull can no longer contain the pressure — POP! — the kernel explodes and a fluffy new piece of popcorn is born.

References





[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้ 6 ]

4 อาชีพเสี่ยง "โรคผิวหนังจากสารเคมี"

        โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ เผยผู้ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และอาชีพเกษตรกรเสี่ยงโรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมี แนะสวมอุปกรณ์ป้องกัน หลีกเลี่ยงการสัมผัส หากมีอาการระคายเคือง หรือผดผื่นให้รีบไปพบแพทย์

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โรคผิวหนังจากสารเคมี


โรคผิวหนัง จากสารเคมี


        นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคผิวหนังที่เกิดจากสารเคมี เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มผู้ที่ทำงานก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม และอาชีพเกษตรกรรม เนื่องจากปัจจุบันมีการใช้วัสดุและสารเคมีที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังอย่างแพร่หลาย มีการใช้งานที่ไม่เหมาะสม หรือหากสัมผัสถูกผิวหนังโดยตรงโดยไม่มีเครื่องป้องกัน จะทำให้เกิดการระคายเคืองเกิดผื่นคันภูมิแพ้ที่ผิวหนัง และอาจเป็นโรคผิวหนังได้



อาชีพเสี่ยงโรคผิวหนังจากสารเคมี


อาชีพที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคผิวหนังจากสารเคมีได้แก่
        1.คนงานก่อสร้างที่ผสมปูนซีเมนต์

        2.คนงานในโรงงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ เครื่องหนัง ยางสีย้อมผ้า กาวพลาสติก เส้นใยแก้ว สีพ่น รวมทั้งน้ำมันเบนซิน และน้ำมันเครื่อง

        3.คนที่ต้องทำงานสัมผัสกับอุปกรณ์ที่ทำจากโลหะชุบนิกเกิล งานอุตสาหกรรมทำเครื่องหนัง ดอกไม้พลาสติก

        4.เกษตรกรที่ต้องใช้ปุ๋ยสารกำจัดแมลงศัตรูพืช


วิธีป้องกันโรคผิวหนังจากสารเคมี

        ผู้ที่ประกอบอาชีพดังกล่าวข้างต้นควรดูแลสุขภาพของตนเอง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นภูมิแพ้ควรระวังเป็นพิเศษ โดยสวมอุปกรณ์ป้องกันสารเคมีก่อนเริ่มปฏิบัติงาน เช่น สวมถุงมือที่ทำจากวัสดุพีวีซีหรือยาง ใช้ผ้ากันเปื้อน หรือสวมชุดป้องกัน เป็นต้นโดยเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับงาน หากมีอาการแพ้หรือมีผื่นคันขึ้นตามผิวหนังให้รีบพบแพทย์ เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาต่อไป

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ชุดป้องกันสารเคมี
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ถุงมือจากท่อพีวีซี

แหล่งที่มา

วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2561

[ ChemNews 5 ]

Top Ten Toxic Food Ingredients in Processed Food

Any food that has been canned, dehydrated, or had chemicals added to it is a processed food, and these foods make up about 60 percent of the average American diet.
        EveryDay Health | Jillian Michaels | Most of us don't think of the food we eat as poison, but some of the ingredients commonly found in processed foods can be considered toxic. By "toxic," I mean chemicals or highly processed ingredients that aren't good for you or can cause harm to your health. I'm talking about refined grains, trans fats, high fructose corn syrup, and all the other artificial junk you can't even pronounce on the ingredient lists. Any food that has been canned, dehydrated, or had chemicals added to it is a processed food, and these foods make up about 60 percent of the average American diet. They've taken over, and we have to FIGHT BACK. Know which toxic food ingredients to avoid:
1. Palm Oil
        When a regular fat like corn, soybean, or palm oil is blasted with hydrogen and turned into a solid, it becomes a trans fat. These evil anti-nutrients help packaged foods stay "fresh," meaning that the food can sit on the supermarket shelf for years without ever getting stale or rotting. Eating junk food with trans fats raises your "bad" LDL cholesterol and triglycerides and lowers your "good" HDL. These fats also increase your risk of blood clots and heart attack. Avoid palm oil and other trans fats like the plague, and kiss fried foods goodbye too, since they're usually fried in one of these freakish trans-fatty oils.
2. Shortening
        Ditch any food that lists shortening or partially hydrogenated oil as an ingredient, since these are also evil trans fats. In addition to clogging your arteries and causing obesity, they also increase your risk of metabolic syndrome. Choose healthier monounsaturated fats, such as olive, peanut and canola oils and foods that contain unsaturated omega-3 fatty acids instead.
3. White Flour, Rice, Pasta, and Bread
        When a whole grain is refined, most of its nutrients are sucked out in an effort to extend its shelf life. Both the bran and germ are removed, and therefore all the fiber, vitamins, and minerals. Because these stripped down, refined grains are devoid of fiber and other nutrients, they're also easy to digest — TOO EASY. They send your blood sugar and insulin skyrocketing, which can lead to all sorts of problems. Replace processed grains with whole grains, like brown or wild rice, whole-wheat breads and pastas, barley, and oatmeal.
4. High Fructose Corn Syrup
        The evil king of all refined grains is high fructose corn syrup (HFCS). The amount of refined sugar we consume has declined over the past 40 years, but we're consuming almost 20 times as much HFCS. According to researchers at Tufts University, Americans consume more calories from HFCS than any other source. It's in practically EVERYTHING. It increases triglycerides, boosts fat-storing hormones, and drives people to overeat and gain weight. Adopt my zero-tolerance policy, and steer clear of this sweet "poison."
5. Artificial Sweeteners
        Aspartame (NutraSweet, Equal), saccharin (Sweet'N Low, SugarTwin), and sucralose (Splenda) may be even harder on our metabolic systems than plain old sugar. These supposedly diet-friendly sweeteners may actually be doing more harm than good! Studies suggest that artificial sweeteners trick the brain into forgetting that sweetness means extra calories, making people more likely to keep eating sweet treats without abandon. Nip it in the bud. Scan ingredient labels and ban all artificial sweeteners from entering your mouth.
6. Sodium Benzoate and Potassium Benzoate
        These preservatives are sometimes added to soda to prevent mold from growing, but benzene is a known carcinogen that is also linked with serious thyroid damage. Dangerous levels of benzene can build up when plastic bottles of soda are exposed to heat or when the preservatives are combined with ascorbic acid (vitamin C). Don't risk it, people
7. Butylated Hydroxyanisole (BHA)
        BHA is another potentially cancer-causing preservative, but it has been deemed safe by the FDA. Its job is to help prevent spoilage and food poisoning, but it's a major endocrine disruptor and can seriously mess with your hormones. BHA is in HUNDREDS of foods. It's also found in food packaging and cosmetics. BHA has many aliases. You can look them up. Or you can follow my advice and DITCH processed foods altogether.
8. Sodium Nitrates and Sodium Nitrites
        No that's not a typo. These two different preservatives are found in processed meats like bacon, lunch meat, and hot dogs. They're some of the worst offenders, and they're believed to cause colon cancer and metabolic syndrome, which can lead to diabetes. Protect your health by always choosing fresh, organic meats.
9. Blue, Green, Red, and Yellow
        The artificial colors blue 1 and 2, green 3, red 3, and yellow 6 have been linked to thyroid, adrenal, bladder, kidney, and brain cancers. Always seek out foods with the fewest artificial chemicals, especially when shopping for your kids. Look for color-free medications and natural food products that don't contain artificial colors like these.
10. MSG
        Monosodium glutamate is a processed "flavor enhancer." While glutamates are present in some natural foods, such as meat and cheese, the ones exploited by the processed-foods industry are separated from their host proteins through hydrolysis. The jury is still out on how harmful MSG may be, but high levels of free glutamates have been shown to seriously screw with brain chemistry. Don't fall prey to chemical flavor enhancing. Just play it safe and flavor your food naturally.

References




[ ChemNews 4 ]

Harmful Chemicals in Tobacco Products

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Harmful Chemicals in Tobacco products

Tobacco smoke

        Cigarettes, cigars, and pipe tobacco are made from dried tobacco leaves. Other substances are added for flavor and to make smoking more pleasant. The smoke from these products is a complex mixture of chemicals produced by burning tobacco and its additives.
        Tobacco smoke is made up of thousands of chemicals, including at least 70 known to cause cancer. These cancer-causing chemicals are referred to as carcinogens. Some of the chemicals found in tobacco smoke include:· 

  • Nicotine (the addictive drug that produces the effect people are looking for and one of the harshest chemicals in tobacco smoke)
  • Hydrogen cyanide
  • Formaldehyde
  • Lead
  • Arsenic
  • Ammonia
  • Radioactive elements, such as uranium (see below)
  • Benzene
  • Carbon monoxide
  • Nitrosamines
  • Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs)

        Many of these substances cause cancer. Some can cause heart disease, lung disease, or other serious health problems, too. Most of the substances come from the burning tobacco leaves themselves, not from additives included in cigarettes (or other tobacco products).

Radioactive materials in tobacco smoke

        Radioactive materials are in the tobacco leaves used to make cigarettes and cigars. These materials come from the fertilizer and soil used to grow the tobacco leaves, so the amount in tobacco depends on the soil the plants were grown in and the type of fertilizers used. These radioactive materials are given off in the smoke when tobacco is burned, which smokers take into their lungs as they inhale. This may be another key factor in smokers getting lung cancer.

[ ChemNews 3 ]

 

Why does chopping an onion make you cry?

        Onions produce the chemical irritant known as syn-propanethial-S-oxide. It stimulates the eyes' lachrymal glands so they release tears. Scientists used to blame the enzyme allinase for the instability of substances in a cut onion. Recent studies from Japan, however, proved that lachrymatory-factor synthase, (a previously undiscovered enzyme) is the culprit (Imani et al, 2002).
The process goes as follows:
  1. Lachrymatory-factor synthase is released into the air when we cut an onion.
  2. The synthase enzyme converts the amino acids sulfoxides of the onion into sulfenic acid.
  3. The unstable sulfenic acid rearranges itself into syn-ropanethial-S-oxide.
  4. Syn-propanethial-S-oxide gets into the air and comes in contact with our eyes. The lachrymal glands become irritated and produces the tears!
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หั่นหัวหอม

[ ChemNews2 ]

First aid

These guidelines can help you care for minor cuts and scrapes:
        1.Wash your hands. This helps avoid infection.
        2.Stop the bleeding. Minor cuts and scrapes usually stop bleeding on their own. If needed, apply gentle pressure with a clean bandage or cloth and elevate the wound until bleeding stops.
        3.Clean the wound. Rinse the wound with water. Keeping the wound under running tap water will reduce the risk of infection. Wash around the wound with soap. But don't get soap in the wound. And don't use hydrogen peroxide or iodine, which can be irritating. Remove any dirt or debris with a tweezers cleaned with alcohol. See a doctor if you can't remove all debris.
        4.Apply an antibiotic or petroleum jelly. Apply a thin layer of an antibiotic ointment or petroleum jelly to keep the surface moist and help prevent scarring. Certain ingredients in some ointments can cause a mild rash in some people. If a rash appears, stop using the ointment.
        5.Cover the wound. Apply a bandage, rolled gauze or gauze held in place with paper tape. Covering the wound keeps it clean. If the injury is just a minor scrape or scratch, leave it uncovered.
        6.Change the dressing. Do this at least once a day or whenever the bandage becomes wet or dirty.
        7.Get a tetanus shot. Get a tetanus shot if you haven't had one in the past five years and the wound is deep or dirty.
        8.Watch for signs of infection. See a doctor if you see signs of infection on the skin or near the wound, such as redness, increasing pain, drainage, warmth or swelling.


References

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้ 5 ]

หินงอกหินย้อย 

กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย เกิดจากอะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร

        หินงอกหินย้อย คือปรากฏการณ์ชนิดหนึ่งที่เกิดต่อเนื่องกันมาเป็นเวลาหลายๆ พันหรือหมื่นปี ซึ่งส่วนใหญ่นั้นมักเกิดขึ้นในถ้ำหินปูน เพราะมีความชื้นอันเป็นปัจจัยของการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ประเภทนี้ ลักษณะของหินงอกหินย้อยนั้น เป็นหินที่ยื่นหรือหยดเข้าหากันคล้ายกับเป็นของเหลว โดยมากเราเรียกหินที่หยดลงมาจากด้านบนว่าหินย้อย และเรียกหินที่ยื่นขึ้นไปจากทางด้านล่างว่าหินงอก ซึ่งกระบวนการต่างๆ ที่ทำให้เกิดสภาพนี้นั้นสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้
        1. หินงอกหินย้อยเกิดจากความชื้นต่างๆ ที่สะสมอยู่ในดิ้น คือเมื่อปลายยุคน้ำแข็ง หิมะเริ่มละลายตัว และความชื้นต่างๆ ก็ไหลมาสะสมในดิน หรือช่องว่างระหว่างดิน กลายเป็นธารน้ำใต้ดิน
        2. เมื่อน้ำใต้ดินนั้นรวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้เกิดกระบวนการสึกกร่อน และเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งเป็นกรดอ่อนชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อหินปูนนั้นเจอกับกรดคาร์บอนิกที่สามารถกัดกร่อนหินปูนได้นั้น ก็จะทำให้เกิดช่องว่างขึ้น เล็กบ้างใหญ่บ้าง ซึ่งเราเรียกช่องว่างที่เกิดขึ้นใหม่นี้ว่า ถ้ำ
        3. หินย้อย เกิดได้จากกระบวนการเหล่านี้เอง คือกล่าวกันได้ว่า หินย้อยคือหินปูนที่ จับตัวกันเป็นแท่งหรือแผ่นย้อยลงมาจากเพดานถ้ำ ซึ่งเมื่อมีน้ำที่มีหินปูนสะสมอยู่หยดลงมาตามรอยแตกหรือรอยแยก ซึ่งเมื่อน้ำนั้นสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป ก็จะทำให้เกิดสารประกอบประเภทคาร์บอเนต จากนั้นเมื่อเกิดการสะสมตัวพอกพูนมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้เกิดเป็นแท่งหินที่ย้อยลงมาจากเพดานถ้ำ โดยมากมักมีลักษณะกลวงด้านใน
        4. หินงอก เป็นกระบวนการที่คล้ายกันก็คือ เกิดจากน้ำที่มีหินปูนสะสมอยู่ที่หยดลงมาจากเพดานถ้ำ สู่ชั้นหินเบื้องล่าง ความที่น้ำนั้นมีตะกอนหินปูนอยู่มาก เมื่อเกิดการสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ไปจึงทำให้เกิดสะสมเป็นแท่ง ยื่นไปในอากาศสูงจากพื้นถ้ำ ซึ่งกระบวนการเกิดหินงอกหินย้อยนี้มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้นเมื่อเกิดหินย้อยแล้วต้องมีหินงอกด้วย (ยกเว้นถ้ำที่ไม่มีพื้น) และเมื่อมีหินงอกต้องมีหินย้อยด้วยเช่นกัน

        สำหรับผู้ที่สนใจอยากจะเที่ยวชมถ้ำหินงอกหินย้อยนั้น ในประเทศไทยก็มีอยู่หลายที่ พบได้บ่อยทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย เช่นถ้ำละว้า จ. กาญจนบุรี , ถ้ำดาวดึงส์ อ. ไทรโยค กาญจนบุรี , ถ้ำหินงอกวัดถ้ำสุมโน จ. พัทลุง เป็นต้น ซึ่งถ้ำทั้งสามผู้เขียนเคยได้ไปเยี่ยมชมมาแล้ว นับว่าสวยงาม และให้ความรู้เรื่องหินงอกหินย้อยได้ดีมากๆ ครับ เพราะเราจะสามารถมองภาพ และจินตนาการการเกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้ 4 ]

เกร็ดความรู้วิชาเคมี เรื่องธาตุ

        ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอท และ ตะกั่ว
        ไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดในเอกภพ อย่างไรก็ดีออกซิเจนเป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดในเปลือกโลก ประกอบกันเป็นครึ่งหนึ่งของมวลทั้งหมด แม้สสารเคมีทั้งหมดที่ทราบกันจะประกอบด้วยธาตุอันหลากหลายเหล่านี้ แต่สสารเคมีนั้นประกอบกันขึ้นเป็นเพียงราวร้อยละ 15 ของสสารทั้งหมดในเอกภพ ส่วนที่เหลือนั้นเป็นสสารมืด ซึ่งมิได้ประกอบด้วยธาตุเคมีที่มนุษย์รู้จัก เพราะไม่มีโปรตอนนิวตรอนหรืออิเล็กตรอน
        เชื่อกันว่าธาตุเคมีเกิดขึ้นจากกระบวนการของเอกภพหลายอย่าง รวมทั้งไฮโดรเจน ฮีเลียม และลิเทียม เบริลเลียมและโบรอนปริมาณน้อยกว่า เกิดขึ้นระหว่างบิกแบงและปฏิกิริยาการแตกเป็นเสี่ยงของรังสีคอสมิก (cosmic-ray spallation) การเกิดขึ้นของธาตุที่หนักขึ้นตั้งแต่คาร์บอนไปจนถึงธาตุที่หนักที่สุดนั้นเป็นผลจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ และมหานวดาราได้ทำให้ธาตุเหล่านี้มีสำหรับระบบสุริยะเนบิวลาและการก่อตัวของดาวเคราะห์ และเหตุการณ์ของเอกภพซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ
        ซึ่งระเบิดธาตุที่สร้างขึ้นใหม่เหล่านี้จากดาวฤกษ์ออกสู่อวกาศ ขณะที่ธาตุส่วนใหญ่มักถูกมองว่าเสถียร แต่การแปรนิวเคลียส (nuclear transformation) ตามธรรมชาติของธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่งนั้นยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน โดยการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เช่นเดียวกับกระบวนการนิวเคลียร์อื่น ๆ เช่น การยิงรังสีคอสมิกและนิวเคลียร์ฟิชชันตามธรรมชาติของนิวเคลียสธาตุหนักหลายชนิด
        เมื่อธาตุแตกต่างกันสองธาตุรวมตัวกันทางเคมี โดยมีอะตอมยึดเข้าด้วยกันด้วยพันธะเคมีผลที่ได้เรียกว่า สารประกอบเคมี สองในสามของธาตุเคมีที่พบได้บนโลกพบเฉพาะในรูปของสารประกอบ และในหลายกรณี หนึ่งในสามที่เหลือนั้นก็มักพบเป็นสารประกอบเป็นส่วนใหญ่ สารประกอบเคมีอาจประกอบด้วยธาตุที่รวมเข้าด้วยกันในสัดส่วนจำนวนเต็มแน่นอน ดังเช่น น้ำ เกลือแกง และแร่ อย่างควอตซ์ แคลไซต์และแร่โลหะบางชนิด
        อย่างไรก็ดี พันธะเคมีของธาตุหลายประเภทส่งผลให้เกิดเป็นของแข็งผลึกและอัลลอยโลหะ ซึ่งไม่มีสูตรเคมีแน่นอน สสารของแข็งส่วนใหญ่บนโลกเป็นประเภทหลังนี้ คือ อะตอมก่อเป็นสสารของเปลือกโลก แมนเทิล และแก่นโลกชั้นในก่อสารประกอบเคมีที่มีองค์ประกอบหลากหลาย แต่ไม่มีสูตรเอมพิริคัลแน่ชั
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตารางธาตุ

หมู่ 1 กลุ่มโลหะแอลคาไลน์ (Alkali Metal)
 Li ลิเทียม Lithium
 Na โซเดียม Sodium
 K โพแทสเซียม Potassium
 Rb รูบิเดียม Rubidium
 Cs ซิเซียม Cesium
 Fr แฟรนเซียม Francium
หมู่ 2 กลุ่มโลหะแอลคาไลน์เอิร์ธ (Alkali Earth Metal)
Be เบริลเลียม Beryllium
Mg แมกนีเซียม Magnesium
Ca แคลเซียม Calcium
Sr สทรอนเทียม Strontium
Ba แบเรียม Barium
Ra เรเดียม Radium
หมู่ 8 กลุ่มก๊าซมีตระกูล หรือ แก๊สเฉื่อย (Noble Gas)
He ฮีเลียม Helium
Ne นีออน Neon
Ar อาร์กอน Argon
Kr คริปทอน Krypton
Xe ซีนอน Xenon
Rn เรดอน Radon
กลุ่มธาตุกึ่งโลหะ (Metalloid)
B โบรอน Boron
Si ซีลีคอน Silicon
Ge เจอร์เมเนียม Germanium
As สารหนู Arsenic
Sb พลวง Antimony
Te เทลลูเรียม Tellurium
Po พอโลเนียม Polonium
กลุ่มโลหะหลังทรานซิชั่น
Al อะลูมิเนียม Aluminum
Ga แกลเลียม Gallium
In อินเดียม Indium
Sn ดีบุก Tin
Tl แทลเลียม Thallium
Pb ตะกั่ว Lead
Bi บิสมัท Bismuth
กลุ่มโลหะทรานซิชั่น (Transition Elements)
Sc สแกนเดียม Scandium
Ti ไทเทเนียม Titanium
V วาเนเดียม Vanadium
Cr โครเมียม Chromium
Mn แมงกานีส Manganese
Fe เหล็ก Iron
Co โคบอลท์ Cobalt
Ni นิเกิล Nickel
Cu ทองแดง Copper
Zn สังกะสี Zinc
Y อิตเทรียม Yttrium
Zr เซอร์โคเนียม Zirconium
Nb ไนโอเบียม Niobium
Mo โมลิบดีนัม Molybdenum
Tc เทคนิเซียม Technetium
Ru รูทีเนียม Ruthenium
Rh โรเดียม Rhodium
Pd แพลเลเดียม Palladium
Ag เงิน Silver
Cd แคดเมียม Cadmium
Hf แฮฟเนียม Hafnium
Ta แทนทาลัม Tantalum
W ทันสเตน Tungsten
Re ริเนียม Rhenium
Os ออสเมียม Osmium
Ir อิริเดียม Iridium
Pt แพลทินัม Platinum
Au ทองคำ Gold
Hg ปรอท Mercury
กลุ่มแอ็กทิไนด์ (Actinide)
Ac แอกทิเนียม Actinium
Th ทอเรียม Thorium
Pa โพรแทกทิเนียม Protactinium
U ยูเรเนียม Uranium
Np เนปทูเนียม Neptunium
Pu พลูโตเนียม Plutonium
Am อเมริเซียม Americium
Cm คูเรียม Curium
Bk เบอร์คีเลียม Berkelium
Cf แคลิฟอร์เนียม Californium
Es ไอน์สเตเนียม Einsteinium
Fm เฟอร์เมียม Fermium
Md เมนเดลิเวียม Mendelevium
No โนโบเลียม Nobelium
Lr ลอว์เรนเซียม Lawrencium
กลุ่มแลนทาไนด (Lanthanide)
La แลนทานัม Lanthanum
Ce ซีเรียม Cerium
Pr เพรซิโอดีเมียม Praseodymium
Nd นิโอดิเมียม Neodymium
Pm โพรมีเทียม Promethium
Sm ซาแมเรียม Samarium
Eu ยูโรเพียม Europium
Gd แกโดลิเนียม Gadolinium
Tb เทอร์เบียม Terbium
Dy ดิสโพรเซียม Dysprosium
Ho โฮลเมียม Holmium
Er เออร์เบียม Erbium
Tm ทูเลียม Thulium
Yb อิตเทอร์เบียม Ytterbium
Lu ลูทิเทียม Lutetium
หมู่ 7 กลุ่มแฮโลเจน (Halogens)
F ฟลูออรีน Fluorine
Cl คลอรีน Chlorine
Br โบรมีน Bromine
I ไอโอดีน Iodine
At แอสทาทีน Astatine

กลุ่มอโลหะ (Non-Metals)
H ไฮโดรเจน Hydrogen
C คาร์บอน Carbon
N ไนโตรเจน Nitrogen
O ออกซิเจน Oxygen
P ฟอสฟอรัส Phosphorus
S กำมะถัน Sulfur
Se ซิลิเนียม Selenium

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้ 3 ]

การจัดจำแนกสาร 

จะสามารถจำแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่

        1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
– สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม ( KMnO
4
 )
, ทองแดง ( Cu )
– สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่า
ของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ำมัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท ( Hg ) ฯลฯ
– สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดยรูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่
ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
        2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ 
จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร ซึ่งจะจำแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ– สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทำให้สารมีสมบัติเหมือนกัน
ตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคำ ( Au ) , โลหะบัดกรี
– สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance )
 หมายถึง สารที่มีเนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทำให้สารนั้นมีสมบัติไม่เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้ำอบไทย , น้ำคลอง ฯลฯ        3. การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
– สารที่ละลายน้ำได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม ( KMnO
4
 ) ฯลฯ
– สารที่ละลายน้ำได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl
2 ) , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2
 ) ฯลฯ
– สารที่ไม่สามารถละลายน้ำได้ เช่น กำมะถัน ( S
8
 ) , เหล็ก ( Fe ) ฯลฯ        4. การนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์  จะจำแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
– สารที่นำไฟฟ้าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ) , น้ำเกลือ ฯลฯ
– สารที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น หินปูน ( CaCO
3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2
 )

State&Change_clip_image004_0002
 แต่โดยส่วนใหญ่นักเคมี จะแบ่งสารตามลักษณะเนื้อสารเป็นเกณฑ์ ดังนี้

        สารบริสุทธิ์ ( Pure Substance ) คือ สารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลวคงที่ธาตุ ( Element ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น คาร์บอน ( C ) , กำมะถัน ( S8 )        สารประกอบ ( Compound Substance ) เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน โดยมีอัตราส่วนในการร่วมกันคงที่แน่นอน
ได้แก่ กรดน้ำส้ม ( CH
3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) ฯลฯ        ของผสม ( Mixture ) หมายถึง สารที่เกิดจากการนำสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันโดยไม่จำกัดส่วนผสม และ ในการผสมกัน
นั้นไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นระหว่างสารองค์ประกอบที่นำมาผสมกัน ซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่
        1. สารละลาย ( Solution Substance ) เป็นสารเนื้อเดียวที่มีสัดส่วนในการรวมกันของธาตุ หรือ สารประกอบไม่คงที่ไม่สามารถ
เขียนสูตรได้อย่างแน่นอน และ มีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า 10
-7 เซนติเมตร ซึ่งมี 3 สถานะ เช่น อากาศ , น้ำอัดลม , นาก , และ โลหะผสม
ทุกชนิด ฯลฯ ซึ่งสารละลายจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวทำละลาย ( Solvent ) และ ตัวถูกละลาย ( Solute ) จะมีข้อสังเกต ดังนี้

– สารใดที่มีปริมาณมากจะเป็นตัวทำละลาย และ สารใดมีปริมาณน้อยจะเป็นตัวถูกละลาย เช่น
แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ มีเอทานอล 70 % และ น้ำ ( H
2O ) 30 %  หมายความว่า น้ำจะเป็นตัวถูกละลาย และ เอทานอลเป็นสารละลาย
เพราะแอลกอฮอล์มีปริมาณตามเปอร์เซนต์ที่มากกว่าน้ำ
– 
สารใดที่มีสถานะเช่นเดียวกับสารละลายเป็นตัวทำละลาย เช่น
น้ำเชื่อม ซึ่งน้ำเชื่อมจัดอยู่ในสภาพที่เป็นของเหลว ( Liquid ) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า น้ำเป็นตัวทำละลาย และ น้ำตาลทราย ( C
12H22O11 )
เป็นตัวถูกละลาย
        2. สารแขวนลอย ( Suspension Substance )คือสารที่เกิดจากอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่มากกว่า

10-4 เซนติเมตร ซึ่งจะลอยกระจายอยู่ในตัวกลางโดยอนุภาคที่มีอยู่ในของผสมนั้นมีขนาดใหญ่ จึงสามารถมองเห็นอนุภาคในของผสมได้อย่างชัดเจน เมื่อตั้งทิ้งไว้อนุภาคจะตกตะกอนลงมา ซึ่งสารแขวนลอยนั้นจะไม่สามารถผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และ กระดาษเซลโลเฟน เช่น โคลน , น้ำอบไทย         3. คอลลอยด์ ( Colliod ) จะประกอบด้วยอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10-4 และ 

10-7 เซนติเมตร ซึ่งจะไม่มีการตกตะกอน สามารถกระเจิงแสงได้ ซึ่งเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ” ปรากฏการณ์ทินดอลล์ ” และ ภายในอนุภาคก็มีการเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน
( Brownian Movement ) กล่าวคือ เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่แน่นอน ในแนวเส้นตรง ซึ่งจะสามารถส่องดูได้จากเครื่องที่เรียกว่า ” อัลตราไมโครสโคป ” ( Ultramicroscope ) ซึ่งคอลลอยด์จะสามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ เช่น กาว , นมสด

present2

แหล่งที่มา 

วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2561

[ ข่าวเคมีและเกร็ดความรู้2 ]

     เกร็ดความรู้เรื่องการแยกสาร

การแยกสาร ใช้ในการแยกสารประกอบซึ่งมี 7 วิธี ได้แก่         1. การกลั่น
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การกลั่น

เหมาะสำหรับแยกของเหลวที่ปนเป็นเนื้อเดียวกัน โดยทำให้ของเหลวกลายเป็นไอ แล้วทำให้ควบแน่นเป็นของเหลวอีก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
– การกลั่นธรรมดา  เหมาะสำหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันประมาณ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป แต่อุณหภูมิตั้งแต่ 40 องศาเซลเซียส
ก็จะเกิดกระบวนการแล้ว
ก็จะเกิดกระบวนการแล้วก็จะเกิดกระบวนการแล้ว – การกลั่นลำดับส่วน  เหมาะสำหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย ซึ่งจะมีข้อเสีย คือ จะใช้พลังงานเป็นจำนวนมาก และมีความ
สลับซับซ้อน
การกลั่นลำดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ เช่น การแยกน้ำมันดิบ โดยจะแยกพวกที่มี
จุดเดือดใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลำดับส่วนก็สามารถกลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดา
แต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลวคงที่
สลับซับซ้อนการกลั่นลำดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ เช่น การแยกน้ำมันดิบ โดยจะแยกพวกที่มีจุดเดือดใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลำดับส่วนก็สามารถกลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดาแต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลวคงที่สลับซับซ้อนการกลั่นลำดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ เช่น การแยกน้ำมันดิบ โดยจะแยกพวกที่มีจุดเดือดใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลำดับส่วนก็สามารถกลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดาแต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลวคงที่
        2. การใช้กรวยแยกเหมาะสมกับสารที่เป็นของเหลว และ จะต้องเป็นสารที่ไม่ละลายต่อกัน หรือ จะต้องมีขั้วต่างกัน เช่น น้ำ และ น้ำมัน
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การใช้กรวยแยก

        3. การกรองเหมาะสำหรับของแข็งที่ไม่ละลายน้ำ หรือ ของแข็งที่ละลายน้ำ และ ไม่ละลายน้ำปนอยู่ด้วยกัน เช่น หินปูน และ น้ำ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การกรอง

        4. การตกผลึกเหมาะสำหรับสารที่สามารถละลายได้เป็นปรากฏการณ์ที่ตัวถูกละลายที่เป็นของแข็ง แยกตัวออกจากสารละลายได้เป็นของแข็งที่มีรูปทรงเรขาคณิต โดยสารใด ๆ ที่ละลายในน้ำอยู่ในจุดอิ่มตัวจะตกเป็นผลึก ถ้ามากเกินพอจะเป็นการตกตะกอนของสาร

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การตกผลึก

       
        5. การสกัดด้วยไอน้ำ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การสกัดด้วยไอน้ำ

เหมาะสมสำหรับการสกัดพวกน้ำมันหอมระเหยจากพืช และ การทำน้ำหอม ( CH3COOH2O ) โดยมีหลักสำคัญ ดังนี้
– จุดเดือดต่ำจะระเหยง่าย ถ้าเป็นสารที่มีจุดเดือดสูง จะต้องการกลั่นโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงความดันในระบบ– สารส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำ– จุดเดือดต่ำจะระเหยง่าย ถ้าเป็นสารที่มีจุดเดือดสูง จะต้องการกลั่นโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงความดันในระบบ– สารส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำ
        6. การสกัดด้วยตัวทำละลาย
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การสกัดด้วยตัวทำละลาย
เหมาะสมกับสารที่ระเหยง่าย โดยมีหลักสำคัญดังนี้
– ถ้าสารมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายต่างชนิดกันสามารถแยกสารออกจากกันได้– หลักการเลือกตัวทำละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทำละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทำละลายที่ละลายสารที่ต่างกัน การสกัดออกมามากที่สุด และ สิ่งเจือปนนั้นจะต้องติดมาน้อยที่สุด
        7. การโครมาโทรกราฟี

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การโครมาโทกราฟี


เหมาะสมสำหรับการแยกสารที่มความสามารถในการละลาย และ ดูดซับไม่เท่ากัน , สารที่มีปริมาณน้อย และ ไม่มีสี โดยหลักสำคัญ มีดังนี้
– ในการทดลองทุกครั้งจะต้องปิดฝา เพื่อป้องกันตัวทำละลายแห้ง ในขณะที่เคลื่อนที่บนตัวดูดซับ– ถ้าสารเคลื่อนทีใกล้เคียงกันมาก แสดงว่าสารมีความสามารถในการละลาย และ ดูดซับได้ใกล้เคียง และ จะแก้ไขได้โดย การเปลี่ยนตัวทำละลาย หรือ เพิ่มความยาวของดูดซับได้ แต่สารที่เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากันในตัวทำละลาย และ ตัวดูดซับใกล้เคียงกัน มักจะสรุปได้ว่าสารนั้นเป็นสารเดียวกันโดยวิธีนี้สามารถทำให้สารบริสุทธิ์ได้ โดยตัดแบ่งสารที่ต้องการละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสม แล้วระเหยตัวทำละลายนั้นทิ้งไปแล้วนำสารนั้นมาทำการโครมาโทรกราฟีใหม่ จนได้สารบริสุทธิ์

แหล่งที่มา เกร็ดความรู้วิชาเคมี

วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561

[ ChemNews 1 ]


Oil-infused plastic gives ketchup the slip

A way to make plastic packaging ultra slippery has been discovered by US researchers, who say their technology could help solve the problem of foods such as ketchup sticking to the inside of plastic containers, which causes food waste and consumer annoyance.

Image showing side view of a ketchup bottle squeezing out ketchup onto a flat white surface






The work is based on SLIPS (slippery liquid-infused porous surfaces) technology, which was first developed in 2011. SLIPS was inspired by the carnivorous pitcher plant Nepenthes, which captures insects using a slippery jug-like leaf with microscopic ridges covered in a lubricating layer of nectar.
Scientists have explored using SLIPS for various applications, from non-stick packaging to anti-fouling surfaces. But most approaches have been limited to using expensive silicone or fluorine based polymers and require complex engineering to create surface roughness.
Now, Jonathan Boreyko’s lab at Virginia Tech has shown that commonly used food-grade plastics, including polyethylene and polypropylene, can be converted into SLIPS by simply coating them with vegetable oil that becomes trapped inside the material’s structure.
The team was surprised by this discovery because it was generally thought to be impossible for oils to permeate into hydrocarbon-based polymer films. Indeed, this resistance is why such plastics are often used as backing and protective materials in SLIPS studies, Boreyko says. ‘We didn’t expect our approach to work at all, we were just trying it in an attempt to confirm that it wouldn’t work,’ he tells Chemistry World.
Schematic of how carbon based polymer flms such as ULDPE can be easily modifed to become slippery oil impregnated surfaces
Source: © Macmillan Publishers Ltd
The team developed multi-layer polymer films comprising a 10um layer of ultra low density polyethylene (ULDPE) placed on top of impermeable tie layers and a backing layer. When they coated the ULDPE side with cottonseed oil the surface became more slippery to water droplets. Laser scanning microscopy revealed the oil wasn’t just sitting on the surface, but had impregnated the polymer to a depth of 1.3um. Wicking experiments showed that oil could wick vertically up the ULDPE film, indicating that its structure must absorb oil into the surface by capillary action.
Further experiments showed that ketchup and yogurt drained more easily from pouches made from the slippery plastic than untreated plastic. They even remained slippery after several weeks of being submerged in ketchup. The technique was also shown to work with soybean and canola oils, as well as other plastics including polypropylene and medium density polyethylene.
‘Liquids and food products can slide very easily along a layer of oil compared to a dry surface. This is what makes the oil-impregnated films more slippery,’ explains Ranit Mukherjee, one of the researchers involved. ‘Bacteria also has a hard time adhering to a lubricated surface, which is why they are also anti-fouling.’
‘The work is one of an ever-growing number of publications that take the fundamental concepts of our SLIPS technology closer and closer to various practical applications,’ says Johanna Aizenberg who first developed SLIPS at Harvard University in the US. ‘One interesting takeaway message of the work is that it is quite easy to design and manufacture the required multilayer polymer films, which would support SLIPS on one side and would remain impenetrable to oil on the opposite side – a very attractive feature for packaging.’

References